ประเภทโครงการ :
ต่อเนื่อง
ประเภทการให้บริการ :
ผลผลิต :
ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :
ประเภทให้เปล่า
งบประมาณ :
65,700.00
แหล่งงบประมาณ :
งบประมาณรายได้
แหล่งทุน :
เงินอุดหนุน
สถานะโครงการ :
ดำเนินการแล้วเสร็จ
วันที่เริ่มโครงการ :
17 มิถุนายน 2023
วันที่สิ้นสุดโครงการ :
18 มิถุนายน 2023
วันส่งมอบงาน :
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :
1.บรรยายในหัวข้อ ปัญหาน้ำทิ้งจากครัวเรือน และการบำบัดน้ำเสียด้วย EM Ball
2.ปฏิบัติการเรื่อง การทำ EM Ball เพื่อใช้บำบัดน้ำเสีย" จำนวน 5 กลุ่ม
3.บรรยายในหัวข้อ เกษตรอินทรีย์ ผักปลอดสารและการทำปุ๋ยชีวภาพที่ผลิตจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร
4.บรรยายในหัวข้อ ขยะไม่ใช่เรื่องไกลตัวและการคัดแยกขยะ
5.ปฏิบัติการเรื่อง สบู่จากน้ำมันพืชเหลือใช้ในครัวเรือน จำนวน 5 กลุ่ม
6.บรรยายหัวข้อ ขยะในครัวเรือนและการจัดการขยะในครัวเรือน
7.ปฏบัติการเรื่อง ถังหมักขยะเปียกในครัวเรือน จำนวน 5 กลุ่ม
ภาพกิจกรรม :
กลุ่มเป้าหมาย :
กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย : 50
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :
50
คน
กลุ่มเป้าหมาย | ที่ตั้งกลุ่มเป้าหมาย | จำนวนผู้เข้าร่วม | ประเภทกลุ่มเป้าหมาย |
ประชาชนในชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลคลองสี่ |
คลองสี่
คลองหลวง
ปทุมธานี
| 50 | ไม่ระบุ |
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม | หน้าที่ |
รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
อาจารย์ไพฑูรย์ ทรัพย์อุดม | วิทยากร |
อาจารย์ชาคร ชินวงศ์อมร | วิทยากร |
อาจารย์อรรจน์ เอี่ยมประเสริฐ | วิทยากร |
อาจารย์นรพร กลั่นประชา | วิทยากร |
ผศ.ดร.สิงห์โต สกุลเขมฤทัย | วิทยากร |
อาจารย์ฐิตยา ศรขวัญ | วิทยากร |
ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ | วิทยากร |
อาจารย์เจ๊ะฮาซัน เจ๊ะอุบง | วิทยากร |
อาจารย์มังกร กิติพัฒน์มนตรี | วิทยากร |
อาจารย์ปรีชา มันสลาย | วิทยากร |
ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
----------ไม่มีข้อมูล--------- |
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านสิ่งแวดล้อม :
เยาวชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมของชุมชน จนโรงเรียนในชุมชนได้รับการพัฒนาเป็นมุมตรวจสอบคุณภาพน้ำประจำหมู่บ้าน และมีโครงการจัดการขยะอย่างต่อเนื่องทั้งในโรงเรียนและในหมู่บ้าน
|
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ยกระดับความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี :
เป็นการปลูกฝังความรู้และความเข้าใจ และทัศนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์และเทคดนโลยีในกลุ่มเยาวชนของชุมชน
|
ลดและใช้ประโยชน์จากของเสีย :
ให้เยาวชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน เช่น โครงการจัดการคัดแยกขยะต่อเนื่องในระยะยาว เพาะเลี้ยงจุลินทรีย์ด้วยน้ำหมัก เพื่อแก้ปัญหาเบื้องต้นของน้ำทิ้งครัวเรือนก่อนทิ้งสู่ธรรมชาติ
|