2566- โครงการถ่ายทอดนวัตกรรมและความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่ชุมชน
ประเภทโครงการ :    ใหม่
ประเภทการให้บริการ :   
ผลผลิต :    ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :    ประเภทให้เปล่า
งบประมาณ :    36,620.00
แหล่งงบประมาณ :    งบประมาณรายได้
แหล่งทุน :    เงินอุดหนุน
สถานะโครงการ :    ดำเนินการแล้วเสร็จ (ส่งรายงานแล้ว)    2023-07-27
วันที่เริ่มโครงการ :    27 กรกฎาคม 2023
วันที่สิ้นสุดโครงการ :    27 กรกฎาคม 2023
วันส่งมอบงาน :   
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :    การผลิตกระถางจากวัสดุธรรมชาติ ด้วยเทคนิคและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ภาพกิจกรรม :   

กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย :  30  คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :   31   คน
กลุ่มเป้าหมายที่ตั้งกลุ่มเป้าหมายจำนวนผู้เข้าร่วมประเภทกลุ่มเป้าหมาย
ชุมชนเทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ เทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ ธัญบุรี ปทุมธานี 31ชุมชน

รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม หน้าที่
ผศ.ดร.อารณี โชติโกผู้รับผิดชอบโครงการ
อาจารย์จุฑามณี ศรีสุทธิ์ผู้รับผิดชอบโครงการ
อาจารย์กนกวรรณ ฤดีสิริศักดิ์วิทยากร
อาจารย์เณศรา แก้วคงผู้ช่วยวิทยากร
อาจารย์วราภรณ์ รักคุณผู้ช่วยวิทยากร
อาจารย์ธนโชติ ขันแข็งผู้ช่วยวิทยากร

ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
----------ไม่มีข้อมูล---------
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านเศรษฐกิจ : ผู้เข้าอบรมเกิดความคิดสร้างสรรค์ต่อยอดจากการเรียนรู้ โดยมีแนวคิดในการนำวัสดุอื่นๆ และวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในท้องถิ่น มาย่อยเป็นเยื่อเพื่อขึ้นรูปเป็นกระถางได้อีกด้วย เช่น ผักตบชวา เปลือกทุเรียน เป็นต้น สามารถลดปัญหาขยะในชุมชนด้วยการเพิ่มมูลค่า สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีได้อีกทางหนึ่ง ทั้งยังจะสามารถนำไปถ่ายทอดสู่ชุมชนอื่นๆ ได้ต่อไป เนื่องจากมีหน่วยงานส่วนท้องถิ่น และชุมชนช่วยส่งเสริมการทำงานร่วมกันกับมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ยกระดับคุณภาพชีวิต/เพิ่มรายได้ : ผู้เข้าร่วมอบรมมีความพึงพอใจต่อหัวข้อการอบรมตรงกับความต้องการ / ความสนใจ 4.61 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.26 รู้สึกคุ้มค่าเมื่อเทียบกับเวลาและค่าใช้จ่าย 4.61 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.26 และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปสร้างอาชีพเสริม/อาชีพใหม่ สร้างรายได้ให้กับตนเอง ร้อยละ 100 โดยมีผลิตภัณฑ์ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม 1 ผลิตภัณฑ์ คือ ผลิตภัณฑ์กระถางจากวัสดุธรรมชาติ (เยื่อขุยมะพร้าว) และเนื้อเยื่อจากวัสดุอื่นๆ ต่อไป
ลดและใช้ประโยชน์จากของเสีย : วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในท้องถิ่น มาย่อยเป็นเยื่อเพื่อขึ้นรูปเป็นกระถางได้อีกด้วย เช่น ผักตบชวา เปลือกทุเรียน เป็นต้น สามารถลดปัญหาขยะในชุมชนด้วยการเพิ่มมูลค่า สร้างสิ่งแวดล้อมที่ดีได้อีกทางหนึ่ง

2025 - คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี
Last Update Version 0.2.2 (8 October 2022)
พบปัญหาการใช้งานแจ้ง งานวิจัยและประเมินผล โทร. 02 549 4164