ประเภทโครงการ :
ใหม่
ประเภทการให้บริการ :
ผลผลิต :
ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :
ประเภทให้เปล่า
งบประมาณ :
95,000.00
แหล่งงบประมาณ :
งบประมาณรายจ่าย
แหล่งทุน :
งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2566 ไปพลางก่อนและ พ.ศ.2567
สถานะโครงการ :
ดำเนินการแล้วเสร็จ (ส่งรายงานแล้ว)
วันที่เริ่มโครงการ :
16 มกราคม 2024
วันที่สิ้นสุดโครงการ :
17 มกราคม 2024
วันส่งมอบงาน :
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :
การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน
ภาพกิจกรรม :
กลุ่มเป้าหมาย :
กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย : 40
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :
88
คน
กลุ่มเป้าหมาย | ที่ตั้งกลุ่มเป้าหมาย | จำนวนผู้เข้าร่วม | ประเภทกลุ่มเป้าหมาย |
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา |
คลองสี่
คลองหลวง
ปทุมธานี
| 78 | สถานศึกษา |
ชุมชนตำบลคลองสี่ |
คลองสี่
คลองหลวง
ปทุมธานี
| 10 | ชุมชน |
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม | หน้าที่ |
อาจารย์ฐิตยา ศรขวัญ | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
อาจารย์นรพร กลั่นประชา | ผู้รับผิดชอบโครงการ (ร่วม) |
ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย | ผู้รับผิดชอบโครงการ (ร่วม) |
อาจารย์เจ๊ะฮาซัน เจ๊ะอุบง | วิทยากร |
ผศ.ดร.สุภาวดี ปาทาธนานนท์ | วิทยากร |
อาจารย์ประภาส ทองรัก | วิทยากร |
อาจารย์ธาวัลย์ อัมพวา | วิทยากร |
อาจารย์ชาคร ชินวงศ์อมร | วิทยากร |
อาจารย์ปรีชา มันสลาย | วิทยากร |
อาจารย์อรรจน์ เอี่ยมประเสริฐ | วิทยากร |
รศ.ดร.วันทนีย์ เขตต์กรณ์ | วิทยากร |
อาจารย์ฟาติมา คล่องดี | วิทยากร |
รศ.ดร.สมพงษ์ แสนเสนยา | วิทยากร |
อาจารย์ศิริลักษณ์ สุรินทร์ | วิทยากร |
อาจารย์วลีวรรณ แฉ่งประเสริฐ | วิทยากร |
รศ.ดร.จิราภรณ์ อนันต์ชัยพัทธนา | |
รศ.ดร.ศิริวรรณ ตี้ภู่ | วิทยากร |
ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
----------ไม่มีข้อมูล--------- |
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านสิ่งแวดล้อม :
เยาวชนต้นแบบ /ประชาชน
ในชุมชนสามารถความรู้ความ และเทคโนโลยีการลดการใช้สารเคมีและการใช้
ประโยชน์จากของเสีย เพื่อลดการก่อปัญหากับสิ่งแวดล้อม ที่สามารถไปนำไปต่อยอด และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
ด้านเศรษฐกิจ :
สร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนในองค์การบริหารส่วนตำบลคลองสี่ ตำบลคลองสี่ และโรงเรียน ในพื้นที่อย่างยั่งยืนและให้ชาวบ้านสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัวได้
|
ด้านสังคม :
สร้างความร่วมมือในการบริการทางวิชาการระหว่างคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิชาอื่น และวิทยาลัย ในกำกับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กับชุมชนองค์การบริหารส่วนตำบลคลองสี่ ตำบลคลองสี่ และโรงเรียน ในพื้นที่อย่างยั่งยืน
|
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ลดและใช้ประโยชน์จากของเสีย :
โรงเรียนนำกระบวนการทดลองย่อส่วนต้นแบบ ไปใช้ในกระบวนการเรียนรู้เพื่อสร้างการตระหนักรู้ เรื่องการลดปริมาณสารเคมีในชีวิตประจำวัน
|
ยกระดับความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี :
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในเรื่องและการใช้สารเคมีที่ลดการก่อปัญหากับสิ่งแวดล้อม การจัดการขยะอย่างต่อเนื่อง
|