ประเภทโครงการ :
ต่อเนื่อง
ประเภทการให้บริการ :
อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ผลผลิต :
ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :
ประเภทสร้างรายได้
งบประมาณ :
31,700.00
แหล่งงบประมาณ :
งบประมาณรายจ่าย
แหล่งทุน :
งบรายจ่ายอื่น
สถานะโครงการ :
ดำเนินการแล้วเสร็จ (ส่งรายงานแล้ว)
วันที่เริ่มโครงการ :
26 มกราคม 2019
วันที่สิ้นสุดโครงการ :
27 มกราคม 2019
วันส่งมอบงาน :
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :
พืชท้องถิ่น และประโยชน์จากพืชท้องถิ่นเพื่อควบคุมแมลงศัตรูพืช
ภาพกิจกรรม :
กลุ่มเป้าหมาย :
กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย : 30
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :
30
คน
กลุ่มเป้าหมาย | ที่ตั้งกลุ่มเป้าหมาย | จำนวนผู้เข้าร่วม | ประเภทกลุ่มเป้าหมาย |
ชุมชนบึงกาสาม |
บึงกาสาม
หนองเสือ
ปทุมธานี
| 30 | ชุมชน |
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม | หน้าที่ |
รศ.ดร.ณัฐชยา คำรังษี | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
รศ.ดร.ณัฐชยา คำรังษี | วิทยากร |
ผศ.ดร.พนารัตน์ ทองเพิ่ม | วิทยากร |
รศ.ดร.อัษฎาวุธ อารีสิริสุข | วิทยากร |
ผศ.ดร.เอื้องฟ้า บรรเทาวงษ์ | วิทยากร |
รศ.ดร.ธนศักดิ์ ล้อมทอง | วิทยากร |
รศ.ดร.วันทนีย์ เขตต์กรณ์ | วิทยากร |
ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
ด้านการเรียนการสอน :
รายวิชาปฏิบัติการสัตววิทยา โดยนำนักศึกษาเข้าร่วมโครงการ โดยเก็บและนำตัวอย่างแมลงศัตรูพืชในท้องถิ่น ได้แก่ หนอนกระทู้ และเพลี้ย มาจัดจำแนกทางอนุกรมวิธาน โดยวัดผลสำเร็จจากผลการสอบนักศึกษาต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
|
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ลดการใช้สารเคมีในการเกษตร
|
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ยกระดับคุณภาพชีวิต/เพิ่มรายได้ :
มีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของพืชท้องถิ่นสำหรับนำมากำจัดแมลงศัตรูพืชมากขึ้น สามารถสกัดสารจากพืชสมุนไพรท้องถิ่น และนำไปใช้ในแปลงผักได้
|