ประเภทโครงการ :
ต่อเนื่อง
ประเภทการให้บริการ :
อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ผลผลิต :
ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :
ประเภทสร้างรายได้
งบประมาณ :
32,500.00
แหล่งงบประมาณ :
งบประมาณรายจ่าย
แหล่งทุน :
งบประมาณร่ายจ่ายประจำปี 2562 ไปพลางก่อน
สถานะโครงการ :
ดำเนินการแล้วเสร็จ (ส่งรายงานแล้ว)
วันที่เริ่มโครงการ :
6 มีนาคม 2020
วันที่สิ้นสุดโครงการ :
7 มีนาคม 2020
วันส่งมอบงาน :
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :
เทคโนโลยีผลิตปุ๋ยชีวภาพจากมูลไส้เดือนเพื่อลดขยะชุมชน
ภาพกิจกรรม :
กลุ่มเป้าหมาย :
กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย : 30
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :
30
คน
กลุ่มเป้าหมาย | ที่ตั้งกลุ่มเป้าหมาย | จำนวนผู้เข้าร่วม | ประเภทกลุ่มเป้าหมาย |
ชุมชนตำบลคลองห้า |
คลองห้า
คลองหลวง
ปทุมธานี
| 30 | ชุมชน |
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม | หน้าที่ |
ผศ.ดร.เอื้องฟ้า บรรเทาวงษ์ | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
ผศ.ดร.เอื้องฟ้า บรรเทาวงษ์ | วิทยากร |
อาจารย์ประภาพร พงษ์ไทย | วิทยากร |
ผศ.ดร.อารณี โชติโก | วิทยากร |
อาจารย์สุจยา ฤทธิศร | วิทยากร |
รศ.ดร.วันทนีย์ เขตต์กรณ์ | วิทยากร |
รศ.ดร.ธนศักดิ์ ล้อมทอง | วิทยากร |
รศ.ดร.ณัฐชยา คำรังษี | วิทยากร |
ผศ.ดร.สุทธวรรณ สุพรรณ | วิทยากร |
รศ.ดร.นพรัตน์ พุทธกาล | วิทยากร |
อาจารย์มานิดา โชรัมย์ | วิทยากร |
อาจารย์เจตนิพิฐ บ่อทอง | วิทยากร |
อาจารย์พนารัตน์ ทองเพิ่ม | วิทยากร |
ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
ด้านการเรียนการสอน :
รายวิชา ปฏิบัติการสัตววิทยา โดยมอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลและนำไปถ่ายทอด และวัดผลการเรียนรู้จากบททดสอบในห้องเรียน
นักศึกษาในรายวิชาจำนวน 30 คน ได้ค้นคว้าข้อมูลและนำไปจัดแสดงนิทรรศการ เรื่อง สายพันธุ์ไส้เดือนของจังหวัดปทุมธานี ไปถ่ายทอดสู่ชุมชนและเป็นผู้ช่วยวิทยากรคอยให้คำแนะนำตลอดโครงการ และเมื่อทดสอบวัดความรู้ในเรื่องอนุกรมวิธานของไส้เดือนและการจัดทำไดโคโตมัสคีย์ ผลคือนักศึกษาสอบผ่านเกณฑ์การวัดผลทั้ง 30 คน
|
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านสิ่งแวดล้อม :
ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจขั้นตอนการผลิตปุ๋ยชีวภาพจากมูลไส้เดือนใช้เอง ช่วยลดขยะและลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน
|
ด้านเศรษฐกิจ :
ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน สามารถนำไปสร้างรายได้ในอนาคต
|
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ลดและใช้ประโยชน์จากของเสีย :
ผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจขั้นตอนการผลิตปุ๋ยชีวภาพจากมูลไส้เดือนใช้เอง นำไส้เดือนกลับไปเลี้ยงเพื่อกำจัดขยะอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพเองที่บ้าน
|
ยกระดับคุณภาพชีวิต/เพิ่มรายได้ :
ผู้เข้าร่วมโครงการได้ร่วมกันทำปุ๋ยชีวภาพจากมูลไส้เดือนพร้อมชุดเลี้ยงไส้เดือนจำนวน 20 ชุด เพื่อนำกลับไปเลี้ยงต่อที่บ้าน และผู้เข้าร่วมโครงการมีความสนใจมากกว่าครึ่ง(ร้อยละ50) นำองค์ความรู้ที่ได้ไปพัฒนาต่อยอดและใช้ประโยชน์
|