ประเภทโครงการ :
ต่อเนื่อง
ประเภทการให้บริการ :
อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ผลผลิต :
ผลงานการให้บริการวิชาการ
ประเภททุน :
ประเภทสร้างรายได้
งบประมาณ :
90,780.00
แหล่งงบประมาณ :
งบประมาณรายได้
แหล่งทุน :
เงินอุดหนุน
สถานะโครงการ :
ดำเนินการแล้วเสร็จ (ส่งรายงานแล้ว)
วันที่เริ่มโครงการ :
29 ตุลาคม 2020
วันที่สิ้นสุดโครงการ :
2 เมษายน 2021
วันส่งมอบงาน :
เทคโนโลยี/นวัตกรรม/องค์ความรู้ที่นำไปใช้อบรมหรือถ่ายทอด :
องค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ ฐานข้อมูลและการสร้างเครื่องมือเก็บข้อมูล ปุ๋ยจากมูลไส้เดือน แพลตฟอร์มขายสินค้าออนไลน์ ระบบมอนิเตอร์ค่า pH และคุณภาพของปุ๋ยและแจ้งเตือนผ่านสมาร์ทโฟน และคุณภาพของดินและน้ำที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพผลผลิตทางการเกษตร
ภาพกิจกรรม :
กลุ่มเป้าหมาย :
กลุ่มเดิม
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย : 30
คน
จำนวนผู้เข้าร่วม :
32
คน
กลุ่มเป้าหมาย | ที่ตั้งกลุ่มเป้าหมาย | จำนวนผู้เข้าร่วม | ประเภทกลุ่มเป้าหมาย |
วิสาหกิจชุมชนสวนเราเกษตรอินทรีย์ |
บึงบา
หนองเสือ
ปทุมธานี
| 32 | ชุมชน |
รายชื่อผู้มีส่วนร่วม :
ผู้มีส่วนร่วม | หน้าที่ |
ผศ.ดร.เนตรนภิส แก้วช่วย | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
อาจารย์จุฑามณี ศรีสุทธิ์ | ผู้รับผิดชอบโครงการ |
ผศ.ดร.กมลรัตน์ สมบุตร | วิทยากร |
อาจารย์นนธิยา มากะเต | วิทยากร |
ผศ.ดร.เอื้องฟ้า บรรเทาวงษ์ | วิทยากร |
อาจารย์สุจยา ฤทธิศร | วิทยากร |
ผศ.ดร.พนารัตน์ ทองเพิ่ม | วิทยากร |
ผศ.ดร.นงลักษณ์ พรมทอง | วิทยากร |
อาจารย์กีรติบุตร กาญจนเสถียร | วิทยากร |
รศ.ดร.อทิพงศ์ บุตรชานนท์ | วิทยากร |
อาจารย์นรพร กลั่นประชา | วิทยากร |
อาจารย์ไพฑูรย์ ทรัพย์อุดม | วิทยากร |
ผลการดำเนินโครงการ
รูปแบบการบูรณาการ :
ด้านการเรียนการสอน :
นักศึกษาในรายวิชา สัตววิทยา ร่วมเป็นผู้ช่วยวิทยากร ในการให้คำแนะนำและตอบข้อซักถามต่างๆ ในการอบรม
|
ด้านการเรียนการสอน :
นักศึกษาในรายวิชา 09419314 โครงงานทางฟิสิกส์ประยุกต์ 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ประยุกต์ ได้รับมอบหมายให้ศึกษาค้นคว้าหลักการทำงานของเซนเซอร์วัดค่า pH และคุณภาพของปุ๋ยและการแสดงผลผ่านระบบไอโอที เพื่อประดิษฐ์ระบบมอนิเตอร์ค่า pH และคุณภาพของปุ๋ยและแจ้งเตือนผ่านสมาร์ทโฟน จากนั้นทดสอบค่าความแม่นยำและค่าความคลาดเคลื่อนต้องไม่เกินร้อยละ 5 เมื่อเปรียบเทียบเครื่องมือวัดที่ขายตามท้องตลาด และสามารถแจ้งเตือนผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์ เมื่อค่าที่วัดได้ผิดปกติหรือเกินขอบเขตที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์ที่ได้คือ นักศึกษาสามารถประดิษฐ์ระบบมอนิเตอร์ค่า pH และคุณภาพของปุ๋ยและแจ้งเตือนผ่านสมาร์ทโฟนที่มีค่าความแม่นยำและค่าความคลาดเคลื่อนไม่เกิน ร้อยละ 5 เปรียบเทียบเครื่องมือวัดที่ขายตามท้องตลาด และสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดให้กับผู้เข้าร่วมอบรมได้
|
ผลกระทบที่ได้รับจากโครงการ :
ด้านเศรษฐกิจ :
ชุมชนหรือกลุ่มเกษตรกร สามารถสร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาอาชีพ มีผลผลิตที่มีคุณภาพ ปลอดภัยต่อผู้บริโภค สามารถขยายการตลาด มีอำนาจต่อรองราคาผลผลิตในท้องตลาดได้ สร้างอาชีพที่มั่นคงยั่งยืน
|
ผลลัพธ์ที่ได้รับจากโครงการ :
ยกระดับคุณภาพชีวิต/เพิ่มรายได้ :
ชุมชนสามารถใช้ฐานข้อมูลประกอบการตัดสินใจ เพื่อหาแนวทางพัฒนาการประกอบอาชีพของกลุ่มเกษตรกรในชุมชน
เกษตรกรสามารถใช้ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ ได้แก่ การสร้างชุดข้อมูลเพื่อจัดทำข้อมูลชุมชน การใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์เก็บตัวอย่างดินและน้ำเพื่อการวิเคราะห์ ปุ๋ยจากมูลไส้เดือน ใช้งานระบบมอนิเตอร์ค่า pH และคุณภาพของปุ๋ยและแจ้งเตือนผ่านสมาร์ทโฟน และสามารถใช้แพลตฟอร์มขายสินค้าออนไลน์ได้ในเบื้องต้น โดยผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจต่อประโยชน์ที่ได้รับ คิดเป็นร้อยละ 90.20 ระดับคุณภาพ ดีมากและสามารถนำองค์ความรู้หรือนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพ เพื่อเพิ่มมูลค่า คุณค่า หรือต่อยอดเชิงพาณิชย์ได้ ร้อยละ 90.88 ระดับคุณภาพ ดีมาก
|